มาเรียม

กรกฎาคม 2562

วันที่ อัตราการเต้นหัวใจ
Rest ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ
Rest ครั้ง/5 นาที
ปริมาณการให้นม
(CC)
หญ้าทะเล
ชนิดใบมะกรูด (กรัม)
ความยาวตัว
(ซม.)
ความยาวรอบตัว
(ซม.)
น้ำหนักตัว
(กก.)
หมายเหตุ
1 ก.ค. 2019 62 3 3,640 0 121.0 67.5 29.5
แข็งแรง ร่าเริงดี กินดี มีการขับถ่ายแบบพรั่งพรู พบหญ้าในอุจจาระ ขี้เซามาก มีการฝึกให้เรียนรู้การเจาะเลือด สวนก้น First blow cytology attempt revealed numerous contaminated cocci bacteria and small number of cornified epithelium cells with NMB staining (wet cytology) There were numerous fat droplets and plant debris without remarkable inflammatory cell Fresh wet cytology showed +2 cocci bacteria and +1 bacilli bacteria with 3:1 in ratio, respectively The fecae was yellow-cream in color and paste-liked appearance
2 ก.ค. 2019 62 5 3,680 100 121.0 67.5 29.5
ปรับสูตรนม น้ำมันจาก 10 มล. เป็น 7 มล.
3 ก.ค. 2019 68 4 3,080 50 121.0 67.5 29.5
สุขภาพประจำวัน แข็งแรง ร่าเริงดี กินดี มีการขับถ่ายแบบพรั่งพรู พบหญ้าในอุจจาระ  ขี้เซามาก มีการฝึกให้เรียนรู้การเจาะเลือด สวนก้น *พบอาการท้องอืดในช่วงเช้า แต่พายเรือแบบสปีด และใช้การนวดคลึงจึงถ่ายและอาการดีขึ้น)
4 ก.ค. 2019 80 1 2,720 300 121.0 67.5 29.5
Normal Gut sound
5 ก.ค. 2019 60 4 1,850 200 120.0 71.0 29.5
มีการเจาะเลือด พบว่ามีความเครียดหลังจากการเจาะเลือด normal heart sound and gut sound
6 ก.ค. 2019 62 4 1,975 0 121.0 67.5 32.0
ไม่กินหญ้าที่ป้อนแต่ตอนเช้าพบมาเรียมในแนวหญ้าทะเล จากการตรวจสุขภาพประจำวันพบว่าพะยูนแข็งแรง ว่ายน้ำและดำน้ำได้ปกติ ไม่พบการปวดเกร็งท้อง ขับถ่าย 4 ครั้ง ลักษณะสีเหลืองเขียว ลอยน้ำ มีกลิ่นน้ำมัน มีการสวนก้นเก็บอุจจาระ​ไปตรวจ มาเรียมยินยอมโดยดี สภาพมูลมีสีเหลือง ผลการตรวจพบว่า หยดน้ำมันจำนวนมาก มีไฟเบอร์ปนเล็กน้อย และมีการปรับปริมาณน้ำมันจาก 5 มล. เป็น 2 มล.
7 ก.ค. 2019 60 4 1,975 50 121.0 68.0 32.0
พะยูนแข็งแรง ว่ายน้ำและดำน้ำได้ปกติ ไม่พบการปวดเกร็งท้อง เสียงหายใจและหัวใจปกติ Normal gut sound กินนมได้บริเวณแนวหญ้า หลังจากกินนมจะมุดลงไปกินหญ้า มูลสีเหลืองครีม เหนียว นิ่ม มีกลิ่นน้ำมัน จึงลดน้ำมันจาก 5 ml เป็น 2 ml เมื่อส่องใต้กล้องยังพบ fat droplet มาก พบเศษพืชปนในอึ มีการฝึกให้ลองหงายท้องเพื่อใช้ในการเก็บมูลในครั้งต่อไป
8 ก.ค. 2019 0 0 2,005 100 121.0 67.0 32.0
เล็มหญ้ากินเองในช่วงเช้าและช่วงเย็นหลังกินนม จากการตรวจสุขภาพประจำวันพบว่าพะยูนแข็งแรง ว่ายน้ำและดำน้ำได้ปกติ ไม่พบการปวด เกร็งท้อง เสียงหายใจและหัวใจปกติ Normal gut sound ถ่าย 6 ครั้ง มูลสีเหลืองครีม นิ่ม มีกลิ่นน้ำมันลดลงจากเมื่อวาน จึงคงปริมาณน้ำมันที่ให้เป็นครั้งละ 2 ml เช้าเย็น เมื่อส่องใต้กล้องยังพบ fat droplet และพบเศษพืชปนในอึเล็กน้อย มีการตดก่อนอึ และมีการเรอ 2 ครั้ง มีการฝึกให้ลองหงายท้องเพื่อใช้ในการเก็บมูลในครั้งต่อไป
9 ก.ค. 2019 60 3 2,300 0 121.0 67.0 32.0
แข็งแรงดี ว่ายน้ำ ดำน้ำดี อึนิ่มมีกลิ่นน้ำมัน
10 ก.ค. 2019 0 0 3,120 300 121.0 71.0 32.0
-
11 ก.ค. 2019 0 2 3,100 300 121.0 71.0 32.0
สัตวแพทย์ผู้ดูแล 1. สพ.ญ.วัชรา ศากรวิมล ตำแหน่ง นายสัตวแพทย์ชำนาญการ 2. สพ.ญ.ราชาวดี จันทรา ตำแหน่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
12 ก.ค. 2019 68 2 2,290 200 121.0 71.0 32.0
สพ.ญ.พัชราภรณ์ แก้วโม่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
13 ก.ค. 2019 62 3 2,290 200 121.0 71.0 32.0
สพ.ญ.พัชราภรณ์ แก้วโม่ง ตำแหน่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
14 ก.ค. 2019 60 4 2,400 200 121.0 71.0 32.0
สพ.ญ.พัชราภรณ์ แก้วโม่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
15 ก.ค. 2019 60 5 2,730 100 121.0 71.0 32.0
สพ.ญ.พัชราภรณ์ แก้วโม่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ
16 ก.ค. 2019 60 3 2,350 100 121.0 71.0 32.0
1. สพ.ญ.พรทิภา ฮาดวิเศษ นายสัตวแพทย์ ประจำศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทยตอนล่าง


2. สพ.ญ.ปิยะฉัตร บัวศรี นายสัตวแพทย์ ประจำสถาบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย


3. น.สพ.นรภัทร โตวณะบุตร นายสัตวแพทย์ ประจำศูนย์วิจัยโรคสัตว์น้ำ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17 ก.ค. 2019 59 5 2,760 120 122.0 76.5 32.0
-
18 ก.ค. 2019 55 3 2,260 120 122.0 76.5 32.0
1. สพ.ญ.วัชรา ศากรวิมล นายสัตวแพทย์ชำนาญการ


2. สพ.ญ.พรทิภา ฮาดวิเศษ นายสัตวแพทย์
19 ก.ค. 2019 60 2 3,200 60 121.0 71.0 32.0
สพ.ญ.วัชรา ศากรวิมล นายสัตวแพทย์ชำนาญการ
20 ก.ค. 2019 60 2 3,500 120 121.0 71.0 32.0
สพ.ญ.วัชรา ศากรวิมล นายสัตวแพทย์ชำนาญการ
21 ก.ค. 2019 84 2 3,500 20 121.0 71.0 32.0
น.สพ. ปฐมพงษ์ จงจิตต์ นายสัตวแพทย์ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
22 ก.ค. 2019 88 2 2,750 20 121.0 71.0 32.0
น.สพ. ปฐมพงษ์ จงจิตต์ นายสัตวแพทย์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
23 ก.ค. 2019 100 2 2,700 30 121.0 71.0 32.0
น.สพ. ปฐมพงษ์ จงจิตต์ นายสัตวแพทย์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
24 ก.ค. 2019 72 2 2,800 30 121.0 71.0 32.0
น.สพ. ปฐมพงษ์ จงจิตต์ นายสัตวแพทย์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
25 ก.ค. 2019 70 1 3,100 20 121.0 75.0 32.0
น.สพ. ปฐมพงษ์ จงจิตต์ นายสัตวแพทย์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
26 ก.ค. 2019 80 2 3,100 15 121.0 75.0 32.0
น.สพ. ปฐมพงษ์ จงจิตต์ นายสัตวแพทย์ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
27 ก.ค. 2019 74 4 3,200 10 121.0 75.0 32.0
สพ.ญ.พัชราภรณ์ แก้วโม่ง นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
28 ก.ค. 2019 74 3 3,000 0 121.0 75.0 32.0
สพ.ญ.ชวัญญา เจียกวธัญญู นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
29 ก.ค. 2019 77 3 3,310 150 121.0 75.0 32.0
สพ.ญ.ชวัญญา เจียกวธัญญู นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
30 ก.ค. 2019 71 2 3,610 350 121.0 75.0 32.0
สพ.ญ.ชวัญญา เจียกวธัญญู นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน
31 ก.ค. 2019 78 2 3,430 300 121.0 75.5 32.0
สพ.ญ.ชวัญญา เจียกวธัญญู นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ ศูนย์วิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทะเลอันดามัน